ธ.ก.ส สนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวทั้งระบบและเชิญชวนลูกค้าเข้าร่วมโครงการชำระดีมีคืนหรือลดภาระหนี้

ธ.ก.ส สนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวทั้งระบบและเชิญชวนลูกค้าเข้าร่วมโครงการชำระดีมีคืนหรือลดภาระหนี้

 

เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2563 ที่ห้องประชุมโรงแรมพรมพิมาณ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ นายสุหัย ฉกะนั้นท์ ผู้อำนวยกาสำนักงาน ธ.ก.ส.จังหวัดศรีสะเกษ เปิดโต๊ะแถลงข่าวโครงการสนับสนุนช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวทั้งระบบตามนโยบายของรัฐบาล โดยมีผู้บริหาร ผู้จัดการ ธกส. ทุกสาขาในจังหวัดศรีสะเกษ และผู้สื่อข่าวจังหวัดศรีสะเกษเข้าร่วมรับฟังการแถลงข่าวในครั้งนี้เป็นจำนวนมาก

นายสุทัย ฉกะนั้นท์ ผู้อำนวยการสำนักงาน ธ.ก.ส.จังหวัดศรีสะเกษ เปิดเผยว่า ธ.ก.ส.ได้ดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในการช่วยเหลือสนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวทั้งระบบ ซึ่งประกอบด้วย โครงการสนับสนคำบริหาจัดการและพัฒนคุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2563/64 เพื่อบรรเทความเดือดร้อนให้เกษตรก เป็นการลดต้นทุนการผลิตให้เกษตรกรให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น และทำให้เกษตรกรมีกำลังใจในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว ปัจจุบัน จังหวัดศรีสะเกษ จ่ายงินสนับสนุน เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2563 จำนวน 224,410 ครัวเรือน วงเงินรวม 1,312,797,095 บาท (หนึ่งพันสามร้อยสิบสองล้านเจ็ดแสนเก้าหมื่นเจ็ดพันเก้าสิบห้าบาทถ้วน) โครงการสนับสนุนชดเชยส่วนต่างราคาตามโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2563/64 เพื่อป้องกันความเสี่ยด้านราคาให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวไม่ให้ประสบปัญหาการขาดทุน เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาราคาผลผลิตตกตำ ปัจจุบัน จัหวัดศรีสะเกษ ได้โอนงินแล้วจำนวน 3 ครั้ง จำนวน 266,903 ครัวเรือน วงงินรวม 2,855,986,580 บท (สองพันแบดรอยห้าสิห้าล้านก้าแสนแปดหมื่นหกพันห้าร้อยแปดสิบบาทถ้วน) และโครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2563/64 เพื่อชะลอปริมาณข้าวเปลือกในช่วงเก็บเกี่ยวไม่ให้ออกสู่ตลาดพร้อมกันจานวนมากซึ่งจะส่งผลให้ราคาตกต่ำ

โดยสนับสนุนสินเชื่อให้เกษตรกรและ สถาบันเกษตรกรเก็บข้าวเปลือกไว้ในยุ้งฉางของตนเองในช่วฤดูเก็บเกี่ยวไว้รอขายจะส่งผลให้ราคาข้าวเปลือกในตลาดมีเสถียภาพ ระหว่างรอการขายผลิตผล ผู้ข้าร่วมโครงการฯ จะได้รับสินชื่อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และเมื่อราดาข้าวเปลือกที่ก็บรักษไว้มีราคาสูงขึ้นจะเป็นที่พอใจ ผู้ข้าร่วมโครงการสามารถไถ่ถอนนำข้าวเปลือกออกมาจำหน่ายได้รับส่วนต่างของราคสที่สูงขึ้นทำให้มีรายได้สูงขึ้น โดยชนิดข้าวเปลือกที่สามารถเข้าร่วมโครงการได้ประกอบด้วย ข้าวหอมมะลิ ข้าวเจ้า หอมปทุมธานี และข้าวเหนียว ซึ่งข้าวเปลือกที่เข้าร่วมโครงการจะต่องมีความชื้นไม่เกิน ร้อยละ 15 สิ่งเจือปนต้องไม่เกินร้อยละ 2 ระยะเวลาทำสัญญากู้เงินเริ่มตั้นแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2563 ถึง วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 กำหนดชำระคืนเงิน ภายใน 5 เดือน นับจากเดือนรับเงินกู้ และ ธกส. ไม่คิดดอกเบี้ยเงินกู้ถ้าชำระคืนได้ตามกำหนด

 

นอกจากนี้เกษตรกรจะได้รับค่าฝากเก็บและรักษาคุณภาพข้าวเปลือกหลักประกันตันละ 1,500 บาท คาดการณ์ว่าเกษตรกรและสถาบันการเกษตรในจังหวัดศรีสะเกษ จะนำข้าวเปลือกเข้าร่วมโครงการฯ ประมาณ 145,000 ตัน นอกจากนี้ธนาคารได้มีมาตรการช่วยหลือลูกค้าที่ได้รับผลกระพบจากภาวะเศรษฐกิจและภัยโรคระบาดไวรัสโคโรนา(COVD-19) พื่อป็นการจูใจให้ลูกด้ที่ยังคงมีศักยภาพและความสามารถในการชำระหนี้ได้ลดภาระหนี้และดอกเบี้ยเงินกู้หลัจากออกจากโครงการพักชำระหนีทั้งระบบ โดยธนคารจะคืนดอกเบี้ยเงินกู้บางส่วน ให้แก่ลูกค้าที่มีต้นเงินเป็นหนี้คงเหลือ ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2563 และได้ชำระหนี้ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม 2563 – 31 มีนาคม 2564 ประกอบด้วย 2 โครงการ คือโครงการชำระดีมีคืน สำหรับหนี้งินกู้จัดชั้นปกติ และโครงการลดภาระหนี้ สำหรับหนี้เงินกู้ NPL โดยลูกค้าเกษตรกร และบุคคล จะได้รับคืนดอกเบี้ยเงินกู้ในอัตราร้อยละ 20 ของ ดอกเบี้ยที่ได้ชำระจริง (ชำระดีมีคืนไม่กิน 5,000 บาท) กลุ่มบุคคล กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ นิติบุคค หมู่บ้านและชุมชนเมือง จะได้รับคืนดอกเบี้ยเงินกู้ในอัตราร้อยละ 10 ของดอกเบี้ยที่ได้รับชำระจริง (ชำระดีมีคืนไม่เกินรายละ 50,000 บาท) ยกเว้นสหกรณ์นอกภาคการกษตร และองค์กร สำหรับผู้ที่สนใจสามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ ธ.ก.ส. ทุกสาขา หรือที่ Call Center 02 555 055

ข่าว/ภาพ บุญทัน ธุศรีวรรณ ศรีสะเกษ

 

You May Have Missed!

0 Minutes
ข่าวประชาสัมพันธ์
สาวผวาหนัก ถูกโจรซุ่มชิงทรัพย์ในลานจอดรถห้างดังย่านแคราย พบคนร้ายเป็นหนี้กว่า 5 แสนบาท
0 Minutes
ข่าวประชาสัมพันธ์
ขยี้ตารัวๆ! Ar-Lek Home ทาวน์โฮมหลังใหญ่ สไตล์มินิมอล ย่านนครปฐม ราคาเริ่มต้น 1.99 ล้านบาท
0 Minutes
ข่าวประชาสัมพันธ์
ร่วมสร้างกรุงเทพในฝันประชาธิปัตย์ก้าวใหม่ กรุงเทพเผชิญวิกฤติทุกมิติ ฝุ่นพิษ PM 2.5  จราจร คนว่างงาน อาชญากรรมเมืองจม น้ำเน่า น้ำท่วม ฯลฯ
1 Minute
ข่าวประชาสัมพันธ์
สมาคมหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาคแห่งประเทศไทย (สภท.) จับมือกูรูด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม จัดสัมมนาสื่อมวลชน ชู “ไฟฟ้า” คู่ “การลดคาร์บอน” หัวใจสำคัญของการพัฒนาในพื้นที่ EEC