กรมวิชาการเกษตรใช้ 7 เทคโนโลยีเร่งขับเคลื่ อนนโยบายเกษตรอินทรีย์
นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า นางสาวมนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่
โดยที่ผ่านมาเกษตรกรประสบปั
- ปุ๋ยหมักเติมอากาศ เน้นการผสมระหว่างวัสดุอินทรีย์
ที่ให้คาร์บอนและไนโตรเจนในสั ดส่วนที่เหมาะสมมีการพั ฒนาระบบเติมอากาศแทนการกลั บกองปุ๋ย เพื่อเร่งกระบวนการย่อยสลายวั สดุอินทรีย์โดยจุลินทรีย์ย่ อยสลายที่มีอยู่ในกองปุ๋ ยธรรมชาติ เมื่อย่อยสลายสมบูรณ์แล้ววัสดุ อินทรีย์จะแปรสภาพเป็นปุ๋ยหมัก ซึ่งสารอินทรีย์ได้แปรสภาพเป็ นสารอนินทรีย์ หรือธาตุอาหารพืชที่ดูดได้ โดยตรงทำให้เกษตรกรลดต้นทุนค่ าปุ๋ย - แหนแดงเป็นปุ๋ยพืชสด (เฟิร์นน้ำขนาดเล็ก) ตรึงไนโตรเจนจากอากาศ สลายตัวได้ง่ายทำให้ปลดปล่
อยธาตุอาหารออกมาได้เร็ว ใช้เป็นแหล่งธาตุไนโตรเจนให้กั บผักรับประทานใบและต้น - เชื้อราไตรโคเดอร์มาเป็นจุลิ
นทรีย์ที่จัดอยู่ในจำพวกเชื้ อราชั้นสูง เส้นใยมีผนังกั้นแบ่งมีประโยชน์ สำหรับใช้ควบคุมโรคพืชที่มี สาเหตุมาจากเชื้อรา เช่น รากเน่าโคนเน่า - ไส้เดือนฝอยสายพันธุ์
ไทยสามารถนำมาใช้ควบคุมแมลงศั ตรูพืชได้หลายชนิด เช่น หนอนไยผัก หนอนกระทู้ผัก และเป็นการช่วยอนุรักษ์ศัตรู ธรรมชาติที่มีประโยชน - เห็ดเรืองแสงสิรินรัศมีใช้
ควบคุมโรครากปมที่เกิดจากปั ญหาการระบาดของไส้เดือนฝอย เช่น โรครากปมพริก มะเขือเทศ - มวนพิฆาต เป็นศัตรูธรรมชาติประเภทตัวห้ำ
ใช้ควบคุมหนอนศัตรูพืชในแปลงผัก โดยการปล่อยมวนพิฆาตระยะตัวอ่อน วัย 3 ขึ้นไปให้กระจายทั่วแปลง หรือบริเวณระบาด ซึ่งจะลดปริมาณหนอนศัตรูพืชได้ 80-90% ควบคุมการระบาดได้ภายใน 5 วัน - แมลงหางหนีบขาวงแหวนเป็นแมลงตั
วห้ำที่สามารถกินไข่ของแมลง และแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่น หนอนกออ้อย เพลี้ยอ่อน และแมลงขนาดเล็ก
“โครงการชุมชนนวัตกรรมวิ